หนังสือศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครอง ฤทัย หงส์สิริ

หนังสือศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครอง ฤทัย หงส์สิริ
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
ศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครอง ฤทัย หงส์สิริ 9786164040892 สารบัญ บทนำ
1. ศาลปกครองคืออะไร
2. ทำไมต้องมีศาลปกครอง
2.1 ศาลและตุลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
2.2 วิธีพิจารณาคดีที่เหมาะสม
3. เมื่อไหร่ต้องฟ้องคดีที่ศาลปกครอง
3.1 คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง
3.
1.1 คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำฝ่ายเดียวของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (1) ไม่มีอำนาจหรือนอกเหนืออำนาจ (2) ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย (3) ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสำคัญ (4) ไม่สุจริต (5) เป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (6) สร้างขั้นตอนโดยไม่จำเป็น หรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร (7) ใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ
3.
1.2 คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร
3.
1.3 คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
3.
1.4 คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
3.
1.
4.1 สัญญาทางปกครองตามที่กฎหมายกำหนด
3.
1.
4.2 สัญญาทางปกครองโดยสภาพหรือที่เกิดจากการตีความของศาล
3.
1.5 คดีที่มีกฎหมายกำหนดให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องคดีต่อศาลเพื่อบังคับให้บุคคลกระทำหรือละเว้นกระทำการ
3.
1.6 คดีที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครอง
3.2 คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจของศาลปกครอง
3.
2.1 การดำเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร
3.
2.2 การดำเนินการของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
3.
2.3 คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลชำนัญพิเศษ
3.
2.4 คดีที่มีกฎหมายตัดอำนาจศาลปกครองไว้โดยเฉพาะ
3.
2.5 คดีอื่น ๆ นอกจากคดีตาม
3.
2.1
-
3.
2.4
4. การฟ้องคดีปกครองนั้นต้องฟ้องคดีที่ศาลไหน
4.1 คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลปกครองสูงสุด
4.
1.1 คดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท
4.
1.2 คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกาหรือกฎที่ออกโดยคณะรัฐมนตรีหรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
4.
1.3 คดีที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจศาลปกครองสูงสุด
4.
1.4 คดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้น
4.2 คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลปกครองชั้นต้น
4.
2.1 ศาลปกครองกลาง
4.
2.2 ศาลปกครองในภูมิภาค
4.
2.3 กรณีที่มีปัญหาเขตอำนาจศาลระหว่างศาลปกครองด้วยกันเองหรือกับศาลระบบอื่น
5. การดำเนินคดีที่ศาลปกครองต้องทำอย่างไร
5.1 ลักษณะที่สำคัญของวิธีพิจารณาคดีปกครอง
5.
1.1 ระบบไต่สวน
5.
1.2 กระบวนพิจารณาทำเป็นลายลักษณ์อักษร
5.
1.3 ให้โอกาสคู่กรณีทราบข้อเท็จจริง โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานได้เต็มที่
5.
1.4 วิธีพิจารณาคดีที่เรียบง่าย รวดเร็ว และประหยัด
5.
1.5 วิธีพิจารณาที่มีกลไกในการตรวจสอบถ่วงดุลการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการ
5.
1.6 วิธีพิจารณาที่คำนึงถึงการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะและสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไปพร้อมกัน
5.2 ขั้นตอนโดยย่อของการดำเนินคดีในศาลปกครอง
5.
2.1 การยื่นคำฟ้องและการตรวจรับคำฟ้อง
5.
2.
1.1 การยื่นคำฟ้อง (1) วิธีการยื่นฟ้อง (
1.1) ยื่นคำฟ้องด้วยตนเองต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายรับฟ้อง ณ สำนักงานศาลปกครอง (
1.2) ยื่นคำฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน (2) ลักษณะและเนื้อหาของคำฟ้อง
5.
2.
1.2 การตรวจรับคำฟ้อง (1) เงื่อนไขเกี่ยวกับผู้มีสิทธิฟ้องคดีและความสามารถของผู้ฟ้องคดี (2) เงื่อนไขเกี่ยวกับคำขอในคำฟ้องให้ศาลมีคำบังคับเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายของผู้ฟ้องคดี (
2.1) สั่งให้เพิกถอนกฎหรือคำสั่งหรือสั่งห้ามการกระทำทั้งหมดหรือบางส่วน (
2.2) สั่งให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหน้าที่ภายในเวลาที่ศาลปกครองกำหนด (
2.3) สั่งให้ใช้เงินหรือใช้ส่งมอบทรัพย์สินหรือให้กระทำการหรืองดกระทำการ (
2.4) สั่งให้ถือปฏิบัติต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง (
2.5) สั่งให้บุคคลกระทำหรือละเว้นกระทำอย่างหนึ่งอย่างใด (3) เงื่อนไขเกี่ยวกับการต้องดำเนินการแก้ไขเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายก่อนฟ้องคดี (4) เงื่อนไขเกี่ยวกับคำฟ้องและเอกสารที่ยื่นส่งศาล (5) เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลาในการฟ้องคดี (
5.1) การฟ้องคดีปกครองทั่วไป (
5.2) การฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับการกระทำละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่น (
5.3) การฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (
5.4) การฟ้องคดีปกครองเกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะหรือสถานะของบุคคล (6) เงื่อนไขเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมศาล (7) เงื่อนไขเกี่ยวกับข้อห้ามในการฟ้องคดีต่อศาลและเงื่อนไขอื่น ๆ
5.
2.
1.3 การร้องสอด
5.
2.
1.4 มาตรการหรือวิธีการชั่วคราวก่อนการพิพากษา (1) การทุเลาการบังคับตามกฎหรือคำสั่งทางปกครอง (2) การบรรเทาทุกข์ชั่วคราว
5.
2.2 การแสวงหาข้อเท็จจริงของศาล
5.
2.
2.1 การแสวงหาข้อเท็จจริงจากคำฟ้อง คำให้การ คำคัดค้านคำให้การ หรือคำให้การเพิ่มเติม
5.
2.
2.2 การแสวงหาข้อเท็จจริงอื่นตามที่ศาลเห็นสมควร
5.
2.3 การดำเนินกระบวนพิจารณาอื่นก่อนการสรุปสำนวน
5.
2.
3.1 การแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้อง
5.
2.
3.2 การรวมคดี
5.
2.
3.3 การแยกคดี
5.
2.
3.4 การโอนคดี
5.
2.
3.5 การถอนคำฟ้อง
5.
2.
3.6 การเข้าแทนที่คู่กรณีมรณะ
5.
2.4 การสรุปสำนวนและการทำคำแถลงการณ์
5.
2.5 การนั่งพิจารณาคดีและการแถลงการณ์
5.
2.6 การพิพากษาหรือมีคำสั่งชี้ขาดคดี
5.
2.
6.1 การทำคำพิพากษาและรายละเอียดในคำพิพากษา
5.
2.
6.2 ผลของคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดคดี
5.
2.7 การอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่ง
5.
2.8 การขอพิจารณาคดีใหม่
5.
2.9 การบังคับคดี
6. การจัดตั้งศาลปกครองมีประโยชน์และมีผลกระทบอย่างไร
6.1 การพัฒนาระบบศาลในประเทศไทย
6.2 การพัฒนาหลักกฎหมายมหาชนอย่างเป็นระบบ
6.3 การพัฒนาระบบการศึกษาและวิชาชีพที่เกี่ยวกับกฎหมายมหาชน
6.4 การพัฒนาระบบควบคุมตรวจสอบฝ่ายปกครองและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
6.5 การพัฒนาหลักเกณฑ์หรือระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติราชการหร
ผู้แต่ง: ดร.ฤทัย หงส์สิริ
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 11 : 2564
จำนวนหน้า: 379 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม
รูปแบบ : ปกอ่อน
 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของ หนังสือศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครอง ฤทัย หงส์สิริ
หากรายละเอียดยังไม่เพียงพอ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ร้านด้านล่าง....
Xuixu